วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551
บททดสอบ วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 30/11/51
1.Layer ที่ 1 ของ OSI Model
2. Layer ที่ 2 ของ OSI Model
3. Layer ที่ 3 ของ OSI Model
4. Layer ที่ 4 ของ OSI Model
2) Protocal IP ทำงานอยู่ Layer ใด
1.Layer ที่ 1 ของ OSI Model
2. Layer ที่ 2 ของ OSI Model
3. Layer ที่ 3 ของ OSI Model
4. Layer ที่ 4 ของ OSI Model
3)255.255.255.0 เป็น Subnet Mask Default
1. Class A
2. Class B
3. Class C
4. Class D
4) หมายเลข IP Address ของClass C เริ่มจากหมายเลขใดถึงเลขใด
1. 191-233
2.191-223
3.192-223
4.192-240
5.หมายเลข IP Address ของClass B เริ่มจากหมายเลขใดถึงเลขใด
1.125-192
2.127-191
3.126-191
4.127-192
6.255.192.0.0 มีCIRD เท่าใด
1. /8
2. /9
3. /10
4. /11
7.255.255.128.0 มีCIRD เท่าใด
1./16
2./17
3./18
4./19
8.255.255.254.0 มีCIRD เท่าใด
1./23
2./24
3./25
4./26
9.255.255.255.224 มีCIRD เท่าใด
1./24
2./25
3./26
4./27
10. 255.255.255.252 มีCIRD เท่าใด
1./27
2./28
3./29
4./30
11.255..255.255.248 จาก Subnet ที่กำหนดให้ สามารถรองรับ Host ได้กี่Host
1.2 Host
2.4 Host
3.6 Host
4.8 Host
12.255.255.255.240 จาก Subnet ที่กำหนดให้ สามารถรองรับ Host ได้กี่Host
1.14 Host
2.16 Host
3.30 Host
4.62 Host
13.255.255.255.128 จาก Subnet ที่กำหนดให้ สามารถรองรับ Host ได้กี่Host
1.124
2.126
3.1022
4.2046
14. 11111111.11111111.11111111.11000000 จากBinary Bit ที่กำหนดให้ รองรับได้กี่ Subnet
1.2 Subnet
2.4 Subnet
3.6 Subnet
4.8 Subnet
15.11111111.11111111.11111111.1110000 จากBinary Bit ที่กำหนดให้ รองรับได้กี่ Subnet
1.2 Subnet
2.4 Subnet
3.6 Subnet
4.8 Subnet
16. 11111111.11111111.11111111.11111000 จากBinary Bit ที่กำหนดให้ รองรับได้กี่ Subnet
1.12 Subnet
2.14 Subnet
3.30 Subnet
4.62 Subnet
17.IP Address Class A มีกี่ เปอร์เซ็นต์ (%) ของIP ทั่วโลก
1.12.5 เปอร์เซ็นต์
2.25 เปอร์เซ็นต์
3.45 เปอร์เซ็นต์
4.50 เปอร์เซ็นต์
18.หมายเลข NET และHOST ที่ถูกต้อง ของ Class C
1. NET.NET.NET.HOST
2. NET.NET.HOST.HOST
3. HOST .HOST .HOST. NET
4. HOST .HOST.NET .NET
19.หมายเลขที่ระบุค่า Broadcast ของ255.255.255.0 คือ
1.254
2.255
3.256
4.ไม่มีคำตอบ
20. 192.168.0.0/24 จะได้ค่า Subnet Mask ค่าใด
1.255.255.254.0
2.255.255.255.0
3.255.255.255.192
4.255.255.255.255.248
เฉลย 3-4-3-4-3-3-2-1-4-4-3-1-2-1-3-3-1-1-1-2
วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
ออกแบบและพัฒนาเว็บ(1/11/08)
2.Method มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
3. input type มีกี่ชนิด อธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
4.attribute ของ type
5.ปุ่ม มี type อะไรบ้าง
1.Tag เปิด/ปิด เป็น Tag ที่ประกอบด้วย Tag เปิด และ Tag ปิด โดย Tag ปิด จะมีเครื่องหมาย slash ( / ) นำหน้าคำสั่งใน Tag นั้นๆ เช่น …, เป็นต้น
2. METHOD คือ วิธีในการส่งข้อมูลไปยังเครื่อง Server
มี2ชนิด คือ
2.1Get คือ การส่งข้อมูลไปให้กับ Web server ทีเดียวทั้งหมด
2.2Post คือ การส่งข้อมูลไปให้กับ Web server ทีละบรรทัด
แบบทดสอบเรื่อง OSI model (2/11/08การสื่อสารและเครือข่ายฯ)
ก. 4 ชั้น
ข. 5 ชั้น
ค. 6 ชั้น
ง. 7 ชั้น
2. Layer ชั้นใดที่ที่อยู่ใกล้ผู้ใช้มากที่สุดทำงานส่งและรับข้อมูลโดยตรงกับผู้ใช้
ก. Application Layer
ข. Presentation Layer
ค. Transport Layer
ง. Network Layer
3. OSI Model พัฒนาโดย International Organization for Standardization (ISO) ในปีใด
ก. ปี 1983
ข. ปี 1984
ค. ปี 1985
ง. ปี 1986
4. ชั้นใดเป็นชั้นที่อธิบายถึงการส่งข้อมูลไปบนสื่อกลาง
ก. Physical Layer
ข. Network Layer
ค. Datalink Layer
ง. Transport Layer
5. Frame เป็นหน่วยของข้อมูลในระดับใด
ก. Application Layer
ข. Transport Layer
ค. Network Layer
ง. Datalink Layer
เฉลยแบบทดสอบ1. ง.2. ก.3. ข.4. ค.5. ง.
ที่มา http://support.mof.go.th/lan/osi.htmhttp://www.udonoa.com/www-tam/Knowledge/OSImodel.html
Moodle (การออกแบบและพัฒนาเว็บ)
Moodle เป็นชุดโปรแกรมสำหรับ ช่วยผู้สอน สร้างหลักสูตร และเปิดสอนบนเว็บไซต์ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต สามารถนำไปใช้ได้ทั้ง มหาวิทยาลัย โรงเรียน สถาบัน หรือครูสอนพิเศษ
ผู้พัฒนาโปรแกรมคือ Martin Dougiamas โปรแกรมชุดนี้เป็น Open source ภายใต้ข้อตกลงของ GNU.ORG(General public license) สามารถ download ได้ฟรีจาก http://moodle.org/mod/resource/view.php?id=8 สำหรับผู้ดูแลระบบ(Admin) ที่จะนำโปรแกรมไปติดตั้ง ต้องมี web server ที่บริการ php และ mysql
ความสามารถของ moodle โดยสรุป
1. เป็น open source ที่ได้รับการยอมรับ (ทั่วโลกใช้ 1216 เว็บไซต์ และในไทยใช้ 34 เว็บไซต์) ตัวนี้ฟรี สถาบันส่วนใหญ่ตัวใครตัวมัน ซื้อบ้าง พัฒนาเองบ้าง ไม่อยู่ใน vision ก็มี ในอนาคตอาจหันมาใช้ตัวนี้กันหมดก็ได้
2. สามารถเป็นทั้ง CMS(Course management system) และ LMS(Learning management system) ช่วยสร้างเนื้อหาโดยอาจารย์ และบริการให้นักเรียนเข้ามาเรียน สถาบันหลายแห่งมีเฉพาะ LMS แต่ไม่มี CMS ให้อาจารย์ครับ
3. สามารถ นำเอกสารที่ทำไว้เพิ่มเข้าไปได้ เช่น word, power point, excel, webpage, pdf หรือ image เป็นต้น ใจกว้าง เคยพัฒนาด้วย ppt แล้วก็นำใช้ได้เลย อย่างของผมพัฒนา thaiall.com/os ก็นำมาใช้ใน moodle ได้สมบูรณ์
4. มี ระบบติดต่อสื่อสารกับนักเรียน หรือระหว่างครูด้วยกัน เช่น chat หรือ webboard เป็นต้น นักเรียนฝากคำถาม ครูทิ้งคำถามไว้ ครูนัดสนทนาแบบonline ครูนัดสอนเสริม หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อนเข้าเรียน ก็ได้
5. มี ระบบแบบทดสอบ และรับการบ้าน สามารถตรวจการบ้าน และให้คะแนนโดยอัตโนมัติ ให้ส่งงาน หรือให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนเก็บได้เลย export ไป excel ก็ทำได้
6. สามารถ เก็บงานทั้งหมดที่อาจารย์ลงแรงทำไปเป็น .zip แฟ้มเดียว อนาคตสามารถนำไปติดตั้งเครื่องที่ไหนก็ได้ ไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ โดยใช้การบีบอัดไฟล์ .zip ใครจะนำไปติดตั้ง server หรือสถาบันไหนก็ได้ .. เพื่อการศึกษา
7. ผู้บริหารที่มี vision ส่งเสริมเรื่องนี้เพราะ อาจารย์ได้ผลงาน นักศึกษาได้เรียนรู้ และสถาบันได้รับการพัฒนา อาจารย์เตรียมสอนครั้งเดียวสบาย นักเรียนเรียนกี่รอบก็ได้ จบไปเข้ามาทบทวนก็ได้ คนไทยด้วยกันเข้ามาหาความรู้ก็ทำได้
Moodle ทำอะไรได้บ้าง
1. การใช้ moodle ในสถาบัน จำเป็นต้องมี
1. มี อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือ LAN
2. มี web browser เช่น Internet explorer ในการติดต่อกับ moodle ทั้งอาจารย์ และนักศึกษา
3. มี web server ให้บริการ และมีความสามารถของ php + mysql เป็นต้น
4. มี ผู้ติดตั้ง และบำรุงรักษา ต้องทำโดยนักคอมพิวเตอร์ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนเว็บ เพราะการติดตั้งไม่ง่ายเลย
5. มี ครู นักเรียน และผู้บริหาร ที่ยอมรับในเทคโนโลยี ดังนั้น moodle ไม่เหมาะกับเด็กอนุบาล หรือคนเฒ่าใกล้ retire
2. ย้ำอีกครั้งว่า โปรแกรมนี้ ช่วยผู้สอนสร้างหลักสูตร และเปิดสอนบนเว็บไซต์
3. ทั่วโลกใช้ 1216 เว็บไซต์ และในประเทศไทยมี 34 เว็บไซต์ (18 เมษายน 2547 จาก http://moodle.org/sites/)
4. ผู้เข้าใช้ระบบมีบุคคล 4 ประเภท เพราะท่านควรเข้าใจ บทบาท และหน้าที่ของตน
ผู้ดูแล(admin) : ติดตั้งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ่มต้น และกำหนดสิทธิ์การเป็นผู้สอน ผู้สอน(teacher) : เพิ่มเนื้อหา เพิ่มข้อสอบ ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และสนทนากับนักเรียน ผู้เรียน(student) : เข้าเรียนหัวข้อต่าง ๆ ทำแบบฝึกหัด ตามที่ได้รับมอบหมาย ผู้มาเยี่ยม(guest) : เข้าเรียนได้เฉพาะวิชาที่อนุญาต และไม่มีสิทธิ์ทำแบบทดสอบใด ๆ
5. ผู้สอนสามารถเพิ่มสิ่งต่อไปนี้ ในแต่ละบทเรียน หรือสัปดาห์
0. Chat (ห้องสนทนา พูดคุยกันได้)
1. Glossary (รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ได้ยอดเยี่ยม สามารถสืบค้นได้)
2. Label (เหมือนป้ายประกาศ ไม่สามารถ click ได้ แจ้งให้ทราบก็จบตรงนั้น)
3. Lesson (บทเรียนให้พิมพ์แยก page title, page contents, answer และ response)
4. กระดานเสาวนา (กระดานข่าว หรือ webboard)
5. การบ้าน (ให้พิมพ์งานใส่ word มา upload ได้)
6. ตัวเลือก (คือการ vote จากคำถาม 1 ข้อ และมีตัวเลือกให้)
7. วารสาร (ให้นักเรียนเข้ามาเขียนวารสาร และมีคะแนนให้ ตามหัวเรื่อง)
8. สัมมนา (เน้นกิจกรรม และองค์ประกอบต่าง ๆ หลายเรื่อง)
9. แบบทดสอบ (สร้างคลังข้อสอบเป็น 1000 ข้อ แล้วเลือกมาให้ทำ 100 ข้อ ระบบจะสุ่มให้นักศึกษาทำอัตโนมัติ)
10. แบบสำรวจ (essay หรือ choice)
11. แหล่งข้อมูล (text, html, upload, weblink, webpage หรือ program)
6. กิจกรรมของผู้สอน
0. สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเอง
1. รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง (บางระบบ สามารถสมัคร และเข้าเรียนได้ทันที)
2. รอผู้ดูแลกำหนดสิทธิ์ในการเป็นผู้สอน หรือผู้สร้างคอร์ส
3. ผู้สอนสร้างคอร์ส และกำหนดลักษณะของคอร์สด้วยตนเอง
4. เพิ่ม เอกสาร บทเรียน และลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม
5. ประกาศข่าวสาร หรือนัดสนทนา กับนักเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
6. สามารถสำรองข้อมูลทั้งหมดที่เคยใส่เข้าไปใน server เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้
7. สามารถนำข้อมูลที่สำรองกลับมากู้คืนที่ server เครื่องเดิม หรือเครื่องใหม่
8. สามารถ download คะแนนนักเรียนจากการทำกิจกรรม ไปใช้ใน excel ได้โดยง่าย
9. กำหนดกลุ่มให้กับนักเรียน เป็นกลุ่ม เป็นห้อง เป็นชั้นปี เพื่อสะดวกในการคิดเกรด คะแนน หรือสื่อสาร เป็นต้น
10. อ่านประวัตินักเรียนในชั้น
11. สั่งยกเลิกการเป็นสมาชิกในวิชา ของนักเรียนที่มีความประพฤติไม่เหมาะสม หรือเข้าผิดวิชา
12. ดูกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคน เช่น ความถีในการอ่านแต่ละบท หรือคะแนนในการสอบแต่ละบท เป็นต้น
13. ดูผลการทำแบบทดสอบของนักเรียนทุกคน หรือยกเลิกการทำข้อสอบในบางครั้ง ของนักเรียนบางคนได้
7. กิจกรรมของผู้เรียน
0. สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเอง
1. รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง (บางระบบ สามารถสมัคร และเข้าเรียนได้ทันที)
2. อ่านเอกสาร หรือบทเรียน ที่ผู้สอนกำหนดให้เข้าไปศึกษาตามช่วงเวลาที่เหมาะสม
3. ฝากคำถาม หรือข้อคิดเห็น หรือนัดสนทนาระหว่างเพื่อน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
4. ทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น ทำแบบฝึกหัด หรือส่งการบ้าน เป็นต้น
5. แก้ไขข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้
6. อ่านประวัติของครู เพื่อนนักเรียนในชั้น หรือในกลุ่ม
ข้อมูลจาก http://www.thaiall.com/e-learning/moodle.htm
PHP-Nuke (การออกแบบและพัฒนาเว็บ)
http://th.wikipedia.org/wiki/PHP-Nuke
Joomla (การออกแบบและพัฒนาเว็บ)
ทีมงานพัฒนาจูมลา! แยกตัวออกมาจากการพัฒนา แมมโบ ซึ่งเป็นระบบจัดการเนื้อหาเว็บที่ได้รับความนิยมอีกตัวหนึ่ง เนื่องจากมีความคิดเห็นไม่ตรงกับบริษัท Miro Corporation ในประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเป็นผู้สนับสนุนหลักและเจ้าของเครื่องหมายการค้า Mambo เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2005
ทางจูมลา! ได้สร้างเว็บไซต์ OpensourceMatters ขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลางในการดูแลจูมลา!
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B2!
JSP (การออกแบบและพัฒนาเว็บ)
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%B5
ASP (การออกแบบและพัฒนาเว็บ)
ปัจจุบันนี้ไมโครซอฟท์ได้ยกเลิกการพัฒนาเทคโนโลยี ASP แล้วและได้เปลี่ยนเป็น ASP.NET แทน. ซึ่งคำว่า Classic ASP นั้นอาจใช้เรียกแทนเอเอสพีเดิม
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%B5
PHP (การออกแบบและพัฒนาเว็บ)
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%B5
วันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2551
Java Script สำหรับพัฒนาเว็บ(การออกแบบและพัฒนาเว็บ)
นั้นเป็นภาษาแบบสคริปต์ ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากภาษา ไลฟ์สคริปต์ ( LiveScript ) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย บริษัทเน็ตสเคป และภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น ภาษาJava Script อย่างในปัจจุบันนี้ ซึ่ง java Scriptนั้นได้เกิดขึ้น ครั้งแรกในNetscape Navigator รุ่น2.0 และพัฒนามาเป็นjava Script1.3 ในNetscape Navigator รุ่น4.x สำหรับภาษา Scriptนั้นมีจุดเด่นกว่าภาษา คอมพิวเตอร์ อื่นๆตรงที่ไม่จำเป็นจะต้องคอมไพล์ และรูปแบบของภาษาก็ง่ายต่อการเขียน เช่น ไม่เข้มงวดเรื่องตัวแปร ,ไม่ต้องประกาศชนิดของตัวแปร ,ไม่ต้องระบุsizeของ อาร์เรย์ ,ไม่ต้องประกาศฟังก์ชัน และยังมีคุณสมบัติเป็นภาษาOOP ซึ่งเรียกใช้ข้อมูลผ่านทาง เมทอด พร็อบเพอร์ตี และ ออบเจ็กต์ ทำให้ง่ายต่อการ เปลี่ยนแปลงแก้ไข และเพิ่มเติ่มโปรแกรมในภายหลัง และในปี พ.ศ.2539 เน็ตสเคปได้เสนอภาษาjava Script ให้กับ ECMA(European Computer Manufactures Association) เพื่อให้รับรองเป็นมาตรฐาน และทางECMA ก็ได้เผยแพร่ มาตราฐาน ECMA-262 ในเดือนมิถุนายน 2540 ซึ่งรู้จักกันในนามของ ECMAScript)
Script technology สำหรับพัฒนาเว็บ(การออกแบบแลพัฒนาเวบ)
ที่มาhttp://www.nsru.ac.th/oldnsru/data/homepage/what.html
HTML technology สำหรับพัฒนาเว็บ(การออกแบบและพัฒนาเวบ)
ที่มา http://www.nsru.ac.th/oldnsru/data/homepage/what.html
วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2551
ความรู้เบื้องต้น(การสื่อสาร)
2. ระบบแมน (metropolitant area network : MAN) ระบบเครือข่ายบริเวณมหานครเป็นระบบ ที่เชื่อม โยงคอมพิวเตอร์ซึ่ง อาจตั้งอยู่ห่างไกลกันในช่วง 5 ถึง 50 กิโลเมตร ปกติมักใช้สำหรับสื่อสารข้อมูล เสียง และภาพ ผ่านสาย โคแอกเชียลหรือเส้นใยแก้วนำแสง ผู้ใช้ระบบแมนมักเป็นบริษัทขนาดใหญ่ที่จำเป็น จะต้องติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่าน ระบบ คอมพิวเตอร์ด้วยความเร็วสูงมาก โดยที่การสื่อสารนั้นจำกัดภายในบริเวณเมือง หรือมหานคร
3. ระบบแลน (local area networks : LAN) เป็นระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณที่เชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งภายในตัวอาคารหลังเดียว หรือที่อยู่ในละแวกเดียวกัน การเชื่อมโยงมักใช้ตัวกลางสื่อสารของตัวเอง เป็นระบบที่เจ้าของ ควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างสมบูรณ์แบบด้วย
ในระบบเครือข่ายทั้งสามระบบนี้ระบบ LAN ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดทั้งในภาครัฐและเอกชนเพราะเทคโนโลยีระบบ LAN มีราคาไม่สูงมากอีกทั้ง คอมพิวเตอร์ที่ต่อกับระบบเครือข่ายนี้ก็เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีราคาถูก ละหน่วยงานต่าง ๆ มีใช้อยู่แล้วหลายเครื่อง การลงทุนซื้ออุปกรณ์สำหรับเครือข่าย LAN มาติดตั้งจึงกระทำได้ง่ายที่สำคัญคือระบบ LAN หลายระบบสามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทั้งมินิคอมพิวเตอร์และระดับเมนเฟรมได้ แต่แท้ที่จริงแล้วระบบ LAN ก็คือ เครือข่ายขนาดเล็กใช้เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในบริเวณสำนักงานที่อยู่อาคารเดียวกันหรือบริเวณเดียวกันเท่านั้น
ที่มาhttp://mail.hu.ac.th/~s4052038/P8.html
2ทิศทางการสื่อสารข้อมูล
รูปที่แสดงการสื่อสารแบบ Simplex
2 .แบบกึ่งสองทิศทาง(Half Duplex) ข้อมูลสามารถส่งสลับกันได้ทั้ง 2 ทิศทาง โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น ตัวอย่างเช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด ส่ง,รับ รับ, ส่ง
รูปที่แสดงการสื่อสารแบบ Half Duplex
3 แบบสองทิศทาง(Full Duplex) ข้อมูลสามารถส่งพร้อมๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทางอย่างอิสระ ตัวอย่างเช่น ระบบโทรศัพท์
รูป แสดงการสื่อสารแบบ Full Duplex
3.รูปแบบการเชื่อมต่อเพื่อการสื่อสารข้อมูล
1.1 แบบดาว ( Star) เป็นการต่อสายเชื่อมโยง โดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อร่วมกันกับ หน่วยสลับสายกลาง ซึ่งทำหน้าที่เหมือนกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจร เชื่อมโยงระหว่างสถานีต่างๆที่ต้องการติดต่อกัน
1.2 แบบวงแหวน (Ring) เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับ เครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของทุกสถานี เข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่องขยายสัญญาณจะต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็น ของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะส่งต่อไป
1.3 แบบบัสหรือต้นไม้ ( Bus or Tree) เป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้อง ใช้เครื่องขยายสัญญาณหรืออุปกรณ์สลับสาย สถานีต่างๆ จะเชื่อมต่อเข้าหาบัส โดยผ่าน ทางอุปกรณ์เชื่อมต่อที่เป็นฮาร์ดแวร์ การจัดส่งข้อมูลบนบัสจึงสามารถส่งไปยังสถานีต่างๆ ได้
ที่มา http://www.vr-satellite.com/knowledgebase/Knowledge06.php
4.องค์ประกอบของการสื่อสาร
1.ผู้ส่งข้อมูล (sender) คือสิ่งที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่ต้องการ
2.ผู้รับข้อมูล(receiver )คือสิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้
3.ข้อมูล (data) คือข้อมูลที่ผู้ส่งต้องการส่งไปยังผู้รับข้อมูล ข้อมูลอาจอยู่ในรูปของข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และอื่นๆ
www.pm.ac.th/41201/สไลด์/slide%208.1.ppt