วันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2551

Java Script สำหรับพัฒนาเว็บ(การออกแบบและพัฒนาเว็บ)

Java Script

นั้นเป็นภาษาแบบสคริปต์ ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากภาษา ไลฟ์สคริปต์ ( LiveScript ) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย บริษัทเน็ตสเคป และภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น ภาษาJava Script อย่างในปัจจุบันนี้ ซึ่ง java Scriptนั้นได้เกิดขึ้น ครั้งแรกในNetscape Navigator รุ่น2.0 และพัฒนามาเป็นjava Script1.3 ในNetscape Navigator รุ่น4.x สำหรับภาษา Scriptนั้นมีจุดเด่นกว่าภาษา คอมพิวเตอร์ อื่นๆตรงที่ไม่จำเป็นจะต้องคอมไพล์ และรูปแบบของภาษาก็ง่ายต่อการเขียน เช่น ไม่เข้มงวดเรื่องตัวแปร ,ไม่ต้องประกาศชนิดของตัวแปร ,ไม่ต้องระบุsizeของ อาร์เรย์ ,ไม่ต้องประกาศฟังก์ชัน และยังมีคุณสมบัติเป็นภาษาOOP ซึ่งเรียกใช้ข้อมูลผ่านทาง เมทอด พร็อบเพอร์ตี และ ออบเจ็กต์ ทำให้ง่ายต่อการ เปลี่ยนแปลงแก้ไข และเพิ่มเติ่มโปรแกรมในภายหลัง และในปี พ.ศ.2539 เน็ตสเคปได้เสนอภาษาjava Script ให้กับ ECMA(European Computer Manufactures Association) เพื่อให้รับรองเป็นมาตรฐาน และทางECMA ก็ได้เผยแพร่ มาตราฐาน ECMA-262 ในเดือนมิถุนายน 2540 ซึ่งรู้จักกันในนามของ ECMAScript)

ที่มาhttp://www.nsru.ac.th/oldnsru/data/homepage/what.html

Script technology สำหรับพัฒนาเว็บ(การออกแบบแลพัฒนาเวบ)

Script
Script ก็หมายถึงโปรแกรมสั้นๆ สำหรับจัดการกับข้อมูลต่างๆที่มีอยู่แล้ว โดยScriptนั้นจะเขียนรวม อยู่กับไฟล์HTML หรืออาจจะแยกออกมาต่างหากก็ได้ ซึ่ง Scriptนั้นมีทั้งแบบที่ทำงานที่Server เช่น ASP หรือ เพิร์ลโมดูล หรือScriptที่ทำงานที่Browser เช่น JavaScript VBScript โดยScriptที่ทำงานในฝั่ง Serverจะเป็นการทำงานตามโปรแกรมในScriptจนเสร็จแล้วจึงส่งผลลัพท์มายัง Browserอีกที่ ซี่งส่วน ใหญ่ไฟล์พวกนี้จะไม่เป็น.htm,.html แต่อาจจะเป็น.asp,.shtml ส่วนScriptที่ทำงานฝั่งBrowser ก็เพื่อลดการทำงานและติดต่อกับServerซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในการตกแต่งโฮมเพจ จัดการForm รูปภาพ เคลื่อนไหว เมนู ฯลฯ.
ที่มา
http://www.nsru.ac.th/oldnsru/data/homepage/what.html

HTML technology สำหรับพัฒนาเว็บ(การออกแบบและพัฒนาเวบ)

HTML
นั้นย่อมาจากคำว่าHyper Text Marup Language หรือเอกสารที่เราเห็นกันอยู่ browser นั้นเอง จุดเด่นที่สำคัญที่สุดของ HTML นั้นก็คือ ความสามารถในการเชื่อมโยง ข้อมูลไปยังเอกสารอื่นได้ เป็นเอกสารที่มีความสามารถมากกว่าเอกสารทั่วไป และมีความสามารถ แบบHypertext คือสามารถเปิดดูได้โดย เท็กซ์อดิเตอร์ใดๆ ส่วนการเชื่อมโยงข้อมูลไปยัง เอกสารอื่นๆนั้น สามารถทำได้โดยการใส่สัญลักษณ์พิเศษเข้าไปในเอกสาร(markup)หรือที่เรียกว่า แท็ก(Tag) ซึ่งจะถูกอ่านโดยโปรแกรมเวบบราวเซอร์ต่างๆ เช่น IE หรือ Netscape ,Opera ฯลฯ ซึ่งภาษาhtmlนั้นมีรากฐานมาจากภาษาSGML(Standard General Marup Languaga)ซึ่งเป็น อีกภาษาหนึ่งที่ใช้ในการใช้งานอิเตอร์เนตในระยะแรกๆ และต่อมาก็ได้มีการพัฒนาภาษาHTMLอยู่ ตลอดเวลา จนกระทั่งปัจจุบันนี้เป็นHTML4.แล้วครับ ความจริงแล้วHTMLนั้นก็ไม่ถึงกับเป็นภาษา หนึ่งเพราะขาดคุณสมบัติหลายๆอย่าง และHTMLนั้นก็มีคุณสมบัติที่ ง่ายต่อการเขียน ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ ไม่มีความรู้ทางด้านภาษาโปรแกรมใดๆเลย ก็สามารถเขียนได้อย่างสบาย และจุดเด่นที่สำคัญที่สุด คือ เราสามารถนำเสนอข้อมูลที่มีทั้ง ตัวอักษร ภาพ เสียง VDO และอื่นๆที่ผนวกอยู่ใน ไฟล์เดียว และสามารถ เชื่องโยงกับเอกสารอื่นๆได้ง่ายดาย
ที่มา http://www.nsru.ac.th/oldnsru/data/homepage/what.html

วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ความรู้เบื้องต้น(การสื่อสาร)

















1.การแบ่งประเภทเครือข่ายคอมพิวเตอร์



1. ระบบแวน (wide area networks : MAN) ระบบเครือข่ายบริเวณกว้างที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่าง ไกลกันข้ามจังหวัดหรือประเทศ ดังนั้น จึงต้องใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคมที่มีประสิทธิภาพสูงในระดับประเทศ เช่น ขององค์การ โทรศัพท์แห่งประเทศไทย สำหรับตัวกลางอาจเป็นคู่สายโทรศัพท์ธรรมดา สายเช่าวงจรไมโครเวฟ เส้นใยแก้วนำแสง สายเคเบิล แบบโคแอกเชียล หรือใช้ระบบ ดาวเทียมก็ได้ โดยพื้นฐานแล้ว ระบบเครือข่ายบริเวณกว้างเป็นระบบเครือข่ายสื่อสาร ที่สามารถใช้ส่ง สัญญาณ เสียง ภาพ และข้อมูลข้ามอาณาบริเวณไกล ๆ ได้
2. ระบบแมน (metropolitant area network : MAN) ระบบเครือข่ายบริเวณมหานครเป็นระบบ ที่เชื่อม โยงคอมพิวเตอร์ซึ่ง อาจตั้งอยู่ห่างไกลกันในช่วง 5 ถึง 50 กิโลเมตร ปกติมักใช้สำหรับสื่อสารข้อมูล เสียง และภาพ ผ่านสาย โคแอกเชียลหรือเส้นใยแก้วนำแสง ผู้ใช้ระบบแมนมักเป็นบริษัทขนาดใหญ่ที่จำเป็น จะต้องติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่าน ระบบ คอมพิวเตอร์ด้วยความเร็วสูงมาก โดยที่การสื่อสารนั้นจำกัดภายในบริเวณเมือง หรือมหานคร
3. ระบบแลน (local area networks : LAN) เป็นระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณที่เชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งภายในตัวอาคารหลังเดียว หรือที่อยู่ในละแวกเดียวกัน การเชื่อมโยงมักใช้ตัวกลางสื่อสารของตัวเอง เป็นระบบที่เจ้าของ ควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างสมบูรณ์แบบด้วย
ในระบบเครือข่ายทั้งสามระบบนี้ระบบ LAN ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดทั้งในภาครัฐและเอกชนเพราะเทคโนโลยีระบบ LAN มีราคาไม่สูงมากอีกทั้ง คอมพิวเตอร์ที่ต่อกับระบบเครือข่ายนี้ก็เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีราคาถูก ละหน่วยงานต่าง ๆ มีใช้อยู่แล้วหลายเครื่อง การลงทุนซื้ออุปกรณ์สำหรับเครือข่าย LAN มาติดตั้งจึงกระทำได้ง่ายที่สำคัญคือระบบ LAN หลายระบบสามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทั้งมินิคอมพิวเตอร์และระดับเมนเฟรมได้ แต่แท้ที่จริงแล้วระบบ LAN ก็คือ เครือข่ายขนาดเล็กใช้เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในบริเวณสำนักงานที่อยู่อาคารเดียวกันหรือบริเวณเดียวกันเท่านั้น
ที่มาhttp://mail.hu.ac.th/~s4052038/P8.html









2ทิศทางการสื่อสารข้อมูล



ทิศทางการสื่อสารข้อมูลสามารถแบ่งทิศทางการสื่อสารข้อมูลได้เป็น 3 แบบ คือ



1. แบบทิศทางเดียว(Simplex) ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางหนึ่ง โดยไม่สามารถส่งย้อนกลับมาได้ เช่น ระบบวิทยุ หรือโทรทัศน์









รูปที่แสดงการสื่อสารแบบ Simplex




2 .แบบกึ่งสองทิศทาง(Half Duplex) ข้อมูลสามารถส่งสลับกันได้ทั้ง 2 ทิศทาง โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น ตัวอย่างเช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด ส่ง,รับ รับ, ส่ง







รูปที่แสดงการสื่อสารแบบ Half Duplex




3 แบบสองทิศทาง(Full Duplex) ข้อมูลสามารถส่งพร้อมๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทางอย่างอิสระ ตัวอย่างเช่น ระบบโทรศัพท์





รูป แสดงการสื่อสารแบบ Full Duplex














3.รูปแบบการเชื่อมต่อเพื่อการสื่อสารข้อมูล




1.1 แบบดาว ( Star) เป็นการต่อสายเชื่อมโยง โดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อร่วมกันกับ หน่วยสลับสายกลาง ซึ่งทำหน้าที่เหมือนกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจร เชื่อมโยงระหว่างสถานีต่างๆที่ต้องการติดต่อกัน








1.2 แบบวงแหวน (Ring) เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับ เครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของทุกสถานี เข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่องขยายสัญญาณจะต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็น ของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะส่งต่อไป










1.3 แบบบัสหรือต้นไม้ ( Bus or Tree) เป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้อง ใช้เครื่องขยายสัญญาณหรืออุปกรณ์สลับสาย สถานีต่างๆ จะเชื่อมต่อเข้าหาบัส โดยผ่าน ทางอุปกรณ์เชื่อมต่อที่เป็นฮาร์ดแวร์ การจัดส่งข้อมูลบนบัสจึงสามารถส่งไปยังสถานีต่างๆ ได้






ที่มา http://www.vr-satellite.com/knowledgebase/Knowledge06.php

4.องค์ประกอบของการสื่อสาร
1.ผู้ส่งข้อมูล (sender) คือสิ่งที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่ต้องการ
2.ผู้รับข้อมูล(receiver )คือสิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้
3.ข้อมูล (data) คือข้อมูลที่ผู้ส่งต้องการส่งไปยังผู้รับข้อมูล ข้อมูลอาจอยู่ในรูปของข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และอื่นๆ
www.pm.ac.th/41201/สไลด์/slide%208.1.ppt








รหัส Ascii (การสื่อสารข้อมูล)


41 74 74 61 73 69 64 43 68 61 69 6D 61 72 61















วันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2551

อรรถสิทธิ์ ไชยนะรา (ตั้มอาวอย)

ตั้มอาวอย
อรรถสิทธิ์ไชยนะรา
คอมพิวเตอร์ศึกษา(กศ.บป.)
รหัส4922122104
โทร 0854117057